วัดกัลยาณมิตร วรมหาวิหาร, กรุงเทพมหานคร

"วัดกัลยาณมิตรคนสนิทกษัตริย์สร้าง
งามสล้างรุ่งเรืองดังเมืองสรวง
เป็นที่เคารพสักการะคนทั้งปวง
เพราะในหลวงจักรีวงศ์ทรงอุ้มชู"
    วัดกัลยาณมิตรเป็นพระอารามหลวง อยู่ปากคลองบางกอกใหญ่ฝั่งใต้
    เจ้าพระยานิกรบดินทร์ (โต) ต้นสกุลกัลยาณมิตร ว่าที่สมุหนายก บุตรพระยาวิชัยวารี
    (มั่น แซ่อึ่ง) เมื่อครั้งเป็นพระยาราชสุภาวดี เจ้ากรมพระสุรัสวดีกลาง มีจิตศรัทธาเลื่อมใส
    ในพระพุทธศาสนาเป็นอย่างมากได้อุทิศบ้านเรือนและซื้อที่ดินบริเวณใกล้เคียง ซึ่งแต่เดิม
    เป็นหมู่บ้านที่มีภิกษุจีนพำนักอยู่ และเรียกกันต่อมาว่า "หมู่บ้านกุฎจีน" เพิ่มเติมเข้าด้วยกัน
    เพื่อสร้างวัดขึ้นเมื่อปีระกา พ.ศ. 2308 แล้วถวายเป็นพระอารามหลวง พระบาทสมเด็จ
    พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานนามว่า "วัดกัลยาณมิตร" พระองค์ทรงสร้างพระวิหาร
    และพระประธานเป็นพระพุทธรูปองค์ใหญ่ ชื่อ พระพุทธไตรรัตนนายก ด้วยมีพระประสงค์
    จะให้เหมือนกรุงเก่า คือมีพระโตอยู่นอกกำแพงเมืองอย่างเช่นวัดพนัญเชิง
    ต่อมา พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสร้างหอไตรขึ้นบริเวณที่จอดแพ
    ของกรมสมเด็จพระศรีสุดารักษ์ เมื่อ พ.ศ. 2408
    ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีการปฏิสังขรณ์พระอารามนี้
    ครั้งใหญ่ โดยเจ้าพระยารัตนบดินทร์ (รอด) ซึ่งเป็นบุตรของเจ้าพระยานิกรบดินทร์

    สิ่งสำคัญภายในวัด
    1. พระวิหาร

    เป็นพระวิหารที่มีขนาดใหญ่โตมาก ตั้งอยู่กลางวัดตรงกลางระหว่างวิหารเล็กและ พระอุโบสถ หน้าบันพระวิหารสลักลายดอกไม้
The making of 'Trung' or banners used in merit-making processions is another tradition among the Tai people. Used for worshipping, the different layers of the 'Trung' are likened to a staircase that lead their makers to heaven when they die.
    Although and absolute conclusion about the origin of the Tai race is yet to be found, scholars of art and culture agree that the Tais share the same habits and culture. Settling on the river banks, they are good farmers who eat sticky rice and fish as their staple food, live in houses on stilts with open space underneath, beat drums, and dress in sarongs and turbans.
    Spirits are a common phenomenon in the Thai culture; a city, for instance, has a guardin spirit. Likewise, their close association with water and ricefields is reflected in the saying, "While eating rice, don't forget the ricefield spirit. And never forget the water spirit which gives fish.' This ancient wisdom teaches the future generations that the droughts and floods that they experience are the consequences of their own failure to coexist in harmony with nature.
Tradition of decorating merit-making items reflect the deep devotion of the Tai Lue to Buddhism.
Siam is the name by which the country was known to the world until 1939 and again between 1945 and 1949. On May 11, 1949, an official proclamation changed the name of the country to "Prathet Thai", or "Thailand", by which it has since been known. The word "Thai" means "free", and therefore "Thailand" means "Land of the Free."


Top
Return to the main page

  • The Dawn of The tai Race, Story and pictures by Teerapap Lohit kul, Kinnaree, June 1996, P.54-60.